สุขภาพหาซื้อไม่ได้

Breaking News
recent

ไบออสไลฟ์ ซี (Bios Life C) "ลดคลอเลสเตอรอล ลด LDL เพิ่ม HDLและไขมันในเลือดได้"โดยไม่ต้องพึ่งหมอ

ไบออสไลฟ์ ซี (Bios Life C) 

"ลดคลอเลสเตอรอล ลด LDL เพิ่ม HDL และ ไขมันในเลือดได้"  โดยไม่ต้องพึ่งหมอ




       
          ผู้ใหญ่อายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไปมักจะมีคลอเลสเตอรอล (Cholesterol) ในเลือดมากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ซึ่งเป็นคำที่เเพทย์ถือว่าสูงเกินควรผู้ที่มีคลอเลสเตอรอลสูงในเลือดเป็นเวลานาน มีโอกาสเป็นโรคได้หลายอย่าง คลอเลสเตอรอลในร่างกายมีความสัมพันธ์กับอาหารที่รับประทานเเละรูปเเบบการดำเนินชีวิตมาก การศึกษาเรื่องราวของคลอเลสเตอรอลจึงช่วยให้สามารถกำหนดบทบาทของชีวิตด้านอาหารการกินและการออกกำลังกายได้เหมาะสมยิ่งขึ้น


       • คลอเลสเตอรอล (Cholesterol) คืออะไร

    Cholesterol เป็นกลุ่มไขมันที่เป็นสาร ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่ละลายน้ำ Cholesterol เป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิต เนื่องจากร่างกายต้องใช้เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างของผนังเซลล์ และเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ฮอร์โมน เช่น estrogen progesterone , testosterone , aldosterone และ cortisol นอกจากนั้น cholesterol ยังใช้ในการสร้างวิตามินดี และน้ำดีสำหรับย่อยไขมันในอาหาร เป็นต้นในระบบหมุนเวียนโลหิต cholesterol จะถูกหุ้มด้วยสาร lipoproteins ซึ่งจะทำหน้าที่ขนส่ง cholesterol ไปตามกระแสโลหิต เพื่อส่งไปยังเซลล์ต่างๆ เพื่อนำไปใช้งาน lipoproteins ที่หุ้ม cholesterol มี 2 ชนิดคือ


    1. Low-density lipoproteins (LDLs) ทำหน้าที่ขนส่ง cholesterol ไปเก็บไว้ตามเซลล์ต่าง ๆ เพื่อนำไปผลิตฮอร์โมน หรือไปสร้างผนังเซลล์ สำหรับ cholesterol ส่วนที่เกินความต้องการ LDLs จะนำไปเกาะไว้ตามผนังเส้นเลือดแดง และเมื่อมีการสะสมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จะทำให้เส้นเลือดแดงตีบลง ในที่สุดจะเกิดการอุดตันของเส้นเลือดแดง ทำให้เซลล์บริเวณนั้นขาดเลือดไปหล่อเลี้ยงทำให้เซลล์ตาย จึงเรียก LDLs ว่า cholesterol ชนิด "ร้าย"



    2. High-density lipoproteins (HDLs) ทำหน้าที่ขนส่ง cholesterol ไปยังตับ และขับออกจากร่างกายผ่านทางน้ำดี เนื่องจาก HDLs ทำหน้าที่กำจัด cholesterol ส่วนเกิน จึงเรียกว่า cholesterol ชนิด " ดี"



     • คลอเลสเตอรอล (Cholesterol) มาจากไหน


    เนื่องจาก cholesterol มีความสำคัญต่อร่างกายมากจนกระทั่งร่างกายจำเป็นต้องมีขบวนการสร้าง cholesterol ขึ้นเอง ทั้งนี้เพื่อประกันว่าจะมี cholesterol อยู่เสมอ ขณะที่ cholesterol อีกส่วนหนึ่ง ร่างกายจะได้จากอาหาร จำพวก นม เนย ไข่ และเนื้อสัตว์ แต่เนื่องจากพืชไม่สร้าง cholesterol ดังนั้นอาหารจำพวกพืชจึงปราศจาก cholesterol 


    ปกติร่างกายจะรักษาความสมดุลย์ของ cholesterol ให้คงที่เสมอ กล่าวคือ ถ้ากินอาหารพวกเนื้อสัตว์มาก ร่างกายก็จะลดการสร้าง cholesterol ลง ในทางตรงข้ามถ้ากินอาหารที่เป็นพืชมากร่างกายก็จะสร้าง cholesterol เพิ่มขึ้นเพื่อชดเชย โดย cholesterol ส่วนเกินจะถูกส่งไปที่ตับในน้ำดี และถูกกำจัดออกทางอุจจาระ

    การสูงขึ้นของระดับ cholesterol ที่ผิดปกติ มีสาเหตุหลัก 2 ประการ คือ จากพันธุกรรม และพฤติกรรมการกินอาหารของแต่ละบุคคล และอาจรวมถึงสาเหตุอื่นด้วย เช่น การขาดการออกกำลังกาย และการสูบบุหรี่เป็นต้น


    คลอเลสเตอรอล (Cholesterol) มีผลต่อหัวใจอย่างไร 




    เซลล์ต่างๆ เมื่อได้รับ cholesterol เพียงพอแล้ว ก็จะหยุดการรับ cholesterol ทำให้ LDLs จึงต้องนำ cholesterol ส่วนที่เกินไปเกาะอยู่ตามผนังของเส้นเลือดแดง ทำให้หลอดเลือดแดงตีบลงเรื่อยๆ ส่งผลให้การไหลของเลือดไปเลี้ยงเซลล์บริเวณนั้นลดลง และถ้าหลอดเลือดแดงไปเลี้ยงหัวใจตีบลง เหลือเพียง 30% ของขนาดหลอดเลือดปกติ ก็จะมีอาการเจ็บหน้าอก ซึ่งเรียกว่า "angina" ซึ่งมักแสดงอาการเมื่อหัวใจต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น หลังจากเหน็ดเหนื่อยจากการออกกำลังกาย กรณีที่เลือดไปเลี้ยงหัวใจบางส่วนถูกตัดขาดโดยสิ้นเชิง จะทำให้เซลล์บริเวณนั้นตาย และอาการหัวใจล้มเหลว ( hart attack) อาจปรากฎขึ้น และถ้าเซลล์ของหัวใจถูกทำลายมาก ก็อาจเป็นสาเหตุให้เสียชีวิตได้


     การตรวจคลอเลสเตอรอล (Cholesterol) จะทำอย่างไร


    การตรวจหาระดับ cholesterol ในเลือดเป็นด่านแรกในการควบคุมระดับ cholesterol ผู้ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป ควรตรวจหาระดับ cholesterol อย่างน้อยทุก 5 ปี เมื่ออายุ 45 ปีขึ้นไป ควรตรวจระดับ cholesterol อย่างน้อยปีละครั้ง ระดับ cholesterol ที่วัดได้ จะรายงานเป็นจำนวนมิลลิกรัม ต่อเลือด 100 มิลลิลิตร ( mg/dl)


    ระดับ total cholesterol


        ต่ำกว่า   200   mg/dl      =    ระดับที่เหมาะสม

                         200-239  mg/dl   = คาบเส้น

        สูงกว่า   240   mg/dl  =  สูงผิดปกติ



    ระดับ cholesterol ที่อยู่ในช่วงคาบเส้น ควรทำการตรวจซ้ำ 2-3 ครั้ง แล้วนำมาหาค่าเฉลี่ย ถ้ายังคงอยู่ในระดับเดิมควรเริ่มต้นควบคุม โดยการลดอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ลง ขณะที่ระดับ cholesterol ที่สูงกว่า 240 mg/dl ควรใช้วิธีควบคุมอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น การออกกำลังกายสม่ำเสมอ งดการสูบบุหรี่ รวมทั้งอาจต้องใช้ยาร่วมด้วย


    ระดับ HDL cholesterol


    สูงกว่า       35    mg/dl     =   ระดับที่เหมาะสม

    สูงกว่า       60    mg/dl     =  ไม่มีความเสี่ยงโรคหัวใจ


    ระดับ LDL cholesterol


    ต่ำกว่า       130    mg/dl  =  ระดับที่เหมาะสม
                
                       130-159  mg/dl  =  คาบเส้น

     สูงกว่า     160     mg/dl   =   มีความเสี่ยงโรคหัวใจสูง



    Cholesterol Ratios


    การคำนวณ cholesterol ratios จะช่วยบอกภาวะของความเสี่ยงโรคหัวใจได้อีกอย่างหนึ่ง โดยมีหลักว่า total cholesterol / HDL ratio สูงกว่า 6 และ ratio ของ LDL / HDL สูงกว่า 4 ถือว่ามีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสูง


      คลอเลสเตอรอล (Cholesterol) และความเสี่ยงโรคหัวใจ

    จากการวิจัยพบว่า ผู้ที่มีระดับ cholesterol สูงกว่า 240 mg/dl จะมีความเสี่ยงโรคหัวใจสูง แต่ยังมีปัจจัยอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น

    1. ชายอายุ 45 และหญิง อายุ 55 ปีขึ้นไป โดยเฉพาะสตรีที่รอบเดือนหมดก่อนอายุ 45 ปี และไม่ได้รับฮอร์โมนทดแทน
 
    2. ความดันโลหิตสูง (สูงกว่า 140/90)
 
    3. สูบบุหรี่
 
    4. HDL ต่ำกว่า 35 mg/dl
 
    5. โรคเบาหวาน
 
    6. ครอบครัวมีประวัติโรคหัวใจ
 
    7. ความอ้วน


     การรับประทานอาหาร


    ประมาณว่าพลังงานที่เราได้จากอาหารนี้มากจากไขมันประมาณร้อยละ 37 จึงมีผู้เเนะนำว่าเราควรลดพลังงานจากไขมันลงร้อยละ 30 คิดโดยประมาณ เป็นลดจากกรดไขมันอิ่มตัวร้อยละ 10 เเละกรดไขมันไม่อิ่มตัวประเภท polyunsaturated และ monounsaturated อย่างละร้อยละ 10 ทั้งนี้ยังมีความจำเป็นต้องรับประทานอาหารที่มีคอเลสเตอรอลอยู่โดยเฉลี่ยประมาณ 300 มิลลิกรัมต่อวัน


    อาหารที่มาจากสัตว์มีคอเลสเตอรอลเเละกรดไขมันอิ่มตัวสูง ไขมันพืชไม่มีคอเลสเตอรอล มีกรดไขมันอิ่มตัวน้อย เเละมีกรดไขมันไม่อิ่มมาก เเต่น้มันปาล์มเเละน้ำมันมะพร้าวนั้น เเม้ว่าจะไม่มีคอเลสเตอรอล เเต่ก็มีกรดไขมันอิ่มตัวสูง


    อาหารที่มีน้ำตาลน้อยและไขมันทำให้น้ำตาลในเลือดสูงกว่าอาหารที่มีคอเลสเตอรอลโดยตรง


   การลดปริมาณคอเลสเตอรอลในเลือดจะช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจล้มเหลวเเละเส้นเลือดอุดตันในสมอง (Stroke) ด้วย เเนวทางในการลดคอเลสเตอรอลมี 3 วิธี ดังนี้

    1. รับประทานอาหารที่มีไขมันหรือกรดไขมันอิ่มตัว เเละคอเลสเตอรอลต่ำ

    2. ออกกำลังกายเป็นประจำ

    3. รักษาน้ำหนัก หากน้ำหนักมากไปก็ลดน้ำหนักลง



     การเลือกอาหารมีข้อคิดดังนี้


    - คอเลสเตอรอลมีในอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น

    - กรดไขมันอิ่มตัวมีในไขมันสัตว์ น้ำมันมะพร้าว เเละน้ำมันปาล์ม

    - ผัก ผลไม้ ธัญชาติ เเละแป้ง ไม่มีคอเลสเตอรอล มีไขมันน้อยหรือไม่มีเลย

    - น้ำมันพืชจาก ข้าวโพด เมล็ดทานตะวัน ถั่วเหลือง คาโนลา และมะกอกมีกรดไขมันไม่อิ่มตัว ทั้ง Mono-และ Polyunsaturated


     ข้อคิดในการลดการบริโภคคอเลสเตอรอลและไขมันประกอบด้วย


    - รับประทานเนื้อประมาณปานกลาง โดยเลือกเนื้อที่ไม่ติดมัน

    - เเร่ส่วนที่เป็นไขมันออกจากเนื้อก่อนนำไปปรุง หรือเทน้ำมันที่ได้จากการปรุงทิ้งไป

    - เเร่หนังไก่ออก นำเฉพาะเนื้อไก่ไปปรุงรับประทาน

    - เลือกวิธีปรุงอาหารอย่างอื่นเเทนที่จะทอด เช่น ปิ้ง ย่าง ต้ม นิ่ง หรือ คั่วน้ำมัน

    - รับประทานผลิตภัณฑ์เนื้อประเภท ซอสเซส เบคอน หรืออื่นๆ ให้น้อยลง

    - เลือกรับประทานผัก ผลไม้ ธัญญาหาร

    - เลือกรับประทานผลิตภัณฑ์นมประเภท นมพร่องมันเนย เนยเเข็ง โยเกิร์ต

   - รับประทานไข่เเดงไม่เกิน 4 ฟองต่อสัปดาห์ ส่วนไข่ขาวยังรับประทานได้ปกติ

   - เลือกซื้ออาหารอ่านฉลากอาหารเพื่อดูปริมาณไขมันในอาหารนั้น

   - ฯลฯ


 คุณรู้ไหม ?  ไบออสไลฟ์ ซี (Bios Life C) >> ช่วยคุณได้





    ไบออสไลฟ์ ซี (Bios Life C) คือ เครื่องดี่มวิตามินผสมใยอาหารจากผัก-ผลไม้ ที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลกมากที่สุด มานานกว่า 10 ปี ช่วยให้เราสามารถลดคอเรสเตอรอลได้

    - เป็นสารสกัดจากธรรมชาติ 100%

    - Clinical Research

    - PDR 

    - ใช้ในคนไข้จริง

    - โดยไม่ต้องอดอาหาร

  - ไม่มีผลข้างเคียง ซึ่งเหมาะสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง คลอเรสโตรอล และเบาหวาน

    - ได้รับสิทธิบัตรคุ้มครองการผลิต ไม่สามารถลอกเลียนแบบได้

    - ทดลองกับ Body machine จำลองร่ากายมนุษย์ มี 2 เครื่องเท่านั้นในโลก อีกเครื่องอยู่องค์การอนามันโลก






    Bios Life C ได้รับการยอมรับจากวงการแพทย์ และเภสัชกร โดยได้รับการบันทึกไว้ ในหนังสืออ้างอิงทางการแพทย์อเมริกา Physicians ‘Desk Reference PDR 2005 ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติเพียงหนึ่งเดียวที่ได้รับการพิสูจน์ จากวงการแพทย์ เภสัช อเมริกา และทั่วโลก จดสิทธิบัตรในอเมริกา สามารถใช้ในการรักษาแบบแพทย์ทางเลือก ทดแทน ยาลดไขมัน เพื่อลดระดับคลอเรสเตอรอลในเลือด



      คุณประโยชน์ 

    - ช่วยปรับระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ

    - ช่วยลดโคเรสเตอรอลผู้ป่วยโรคไขมันในเลือดสูง ได้ผลภายใน 6-8 สัปดาห์

    - ช่วยปรับระดับความดันโลหิตให้ปกติ

    -ไฟเบอร์ในปริมาณที่สามารถช่วยลดคลอเรสเตอรอล ได้แก่ แอปเปิ้ล 14 ลูก,ผัก จาน,กล้วยหอม 22 ลูก ,แครอท 35 หัว ต่อวัน กิน Bios Life ง่ายๆกว่าเยอะ 

    Bios Life ช่วยในการลดไตรกลีเซอไรด์ 

    Bios Life  ลดเบาหวาน 

    Bios Life ลดพุงและเอว 

    Bios Life ช่วยชะลอความแก่

    Bios Life มี โคเมท (Chrome Mate) คือ ฟอร์มที่จดลิขสิทธิ์ อยู่ในฟอร์มที่สามารถใช้ในการลดน้ำตาลในเลือดได้มาก




     Bios life C สามารถลดระดับ LDL และ เพิ่มระดับ HDL
    

    Bioslife C ได้ผ่านการพิสูจน์ทางการแล้วว่า สามารถลดระดับ LDL Cholesterol (ไขมันชนิดเลว) ลงได้ถึง 31% เพิ่มระดับ HDL Cholesterol (ไขมันชนิดดี) ได้ถึง 29% เมื่อรับประทานต่อเนื่องกัน 8 สัปดาห์


    *** ขณะที่ยาลดคอเลสเตอรอลทั่วไปในท้องตลาด จะไปสั่งตับไม่ให้สร้าง คอเรสเตอรอล และไม่สามารถเพิ่มระดับ HDL Cholesterol (ไขมันชนิดดี) ได้ ช่วยให้ LDL Cholesterol (ไขมันชนิดเลว) ลดลงได้แต่ ก็จะทำให้ HDL Cholesterol (ไขมันชนิดดี) ลดลงด้วย และ ยังมีผลข้างเคียง ที่มีอันตราย
ต่อตับ และ อันตรายอื่นๆ อีก

    - ถ้าเราสามารถลด LDL (คลอเลสเตอรอล เลว) ลง 1% เราจะลดอัตราการตายลงได้ 2%

    - ถ้าเราสามารถเพิ่ม HDL (คลอเรสเตอรอล ดี) ได้ 1% เราจะลดอัตราการตายได้ 3%.



     วิธีรับประทาน Bios Life C ไบออสไลฟ์ซี


    - ชงไบออส ไลฟ์ ซี 3-6 กรัม กับน้ำ 300 ซีซี เขย่าแล้วดื่มก่อนอาหาร 5-10 นาที (สามารถชงกับน้ำผลไม้ก็ได้) วันละ 2 ครั้ง


Bios Life C กล่องใหญ่ 1 กล่อง บรรจุ 60 ซอง 
ราคา 3,694 บาท
ทะเบียน อย. เลขที่ 10-3-03646-1-0028
นำเข้าจากประเทศสหรัฐอเมริกา



     Bioslife ลดคอเลสตอรอลอย่างไร?




อ้างอิงข้อมูลจาก www.bioslife.com, UNICITY ยูนิซิตี้
สนใจผลิตภัณฑ์ของยูนิซิตี้



สนใจสินค้า ทำการคลิกได้เลย >>   สั่งซื้อสินค้า




All new

All new

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ขับเคลื่อนโดย Blogger.